หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาการตรวจสอบและกฎหมายวิศวกรรม
ชื่อ ตันติกร ศิรกฤตธนสาร
1 งานฐานรากสำหรับงานวิศวกรรมโยธา
สำหรับข้อคิดของงานวิศวกรรมฐานรากในประเทศไทย อรุณ ชัยเสรี1 ได้กล่าวไว้ในหนังสือซึ่ง รวบรวมเอาสาเหตุการวิบัติของอาคาร สาเหตุของการวิบัติและการแก้ไขอาคารวิบัติไว้ ดังนี้
“การวิบัติของอาคารซึ่งเกิดจากสาเหตุอื่นมักจะไม่สู้รุนแรง ยกเว้นกรณีที่โครงสร้างออกแบบ ผิดพลาด เช่น เล็กไป หรือการควบคุมงานไม่ดีจนโครงสร้างไม่สามารถจะรับน้ำหนักบรรทุกได้ และ มักสังเกตเห็นการวับิติได้ตั้งแต่ระยะแรกเช่นคานเริ่มร้าวเล็กน้อยและคอ่ยๆขยายตัวออกไปเมื่อหา สาเหตุพบก็สามารถซ่อมแซมแก้ไขได้ไม่ยากนัก แต่สำหรับการวิบัติอันเกิดที่ฐานรากนั้น ในขั้นแรก มักสังเกตไม่พบเพราะอยู่ใต้ดิน ต่อเมื่อเกิดอาการแตกร้าวของโครงสร้างขึ้นย่อมหมายความว่าได้ เกิดการทรุดตัวขึ้นมากหรือนานมาแลว้หรือถ้าอัตราการทรุดตัวเร็วมากก็อาจทำให้อาคารทั้งหลังพัง ลงได้ในเวลาอันสั้นและในบางกรณีสุดวิสัยที่จะแก้ไขได้ทันการแก้ไข ต้องสิ้นค่าใช้จ่ายสูงมากด้วย ฉะนั้นในการคำนวณออกแบบและก่อสร้างฐานราก จะต้องให้ ความระมัดระวังเป็นพิเศษไม่ควรมีความเสี่ยงใดๆ ทั้งสิ้น”
ตัวอย่างงานออกแบบฐานรากเครื่องจักร :
พื้นที่ก่อนเริ่มโครงการ
หมวดงานรื้อถอน :
หมวดงานดิน :
หมวดงานเหล็กเสริม :
หมวดงานคอนกรีตเสริมเหล็ก :